ปฏิบัติการวิชาชีพครู 1 (Practicum 1)

ปฏิบัติการวิชาชีพครู 1 (Practicum 1)

วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3

วันอังคาร ที่ 20 ธันาคม 2554
วันนี้อาจารย์ได้ถามนักศึกษาว่าใตรได้เปิดบล็อกเกอร์แล้วบ้าง
พอถึงท้ายคาบในนำลิ้งค์ลงให้อาจารย์ด้วยแล้วอาจารย์ก็เริ่มสอน
ความหมาย ความสำคัญของคณิตศาสตร์
"คณิต" หมายถึง การนับ การคำนวณ วิชาคำนวณ การประมาณ
"คณิตศาสตร์" หมายถึง วิชาว่าด้วยการคำนวณหรือตำรา
คณิตศาสตร์ เป็นวิชาที่มีความจำเป็นในการประกอบอาชีพ
เช่น ด้านกสิกรรม อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม ผู้มีอาชีพเป็นสถาปนิก
วิศวกรออกแบบ และควบคุมการก่อนสร้าง นักวิทยาศาสตร์คิดค้นสิ่งแปลกใหม่
นักเศรษฐศาสตร์มีความจำเป็นที่จะต้องมีความรู้ความสามารถ
เกี่ยวกับคณิตศาตร์ หรือตัวเลขต่าง ๆ ในการปรกอบกิจกรรมนั้นๆ
ปัจจุบันนี้คณิตศาสตร์ได้เข้ามามีความสัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของมนุษย์มาก
เราจะพบว่าทั้งเด็กเเละผู้ใหญ่จะใช้ความรู้ความเข้าใจและทักษะทางคณิตศาสตร์
แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันอยู่ตลอดเวลา ทั้งในบ้านและนอกบ้าน
เช่น การอ่านราคาสินค้า การซี้อขายสินค้า
แนวคิดนักการศึกษา
1)ดิวอี้ (Dewey)
-เด็กเรียนรู้ โดยการกระทำ
-การพัฒนาสติปญญาของเด็กจะต้องฝึกให้เด็กคิดแบบวิทยาศาสตรและมีระบบ
2)สกินเนอร์ (Skinner)
-ถ้าเด็กไดรับคำชมเชยและประสบความสําเรจในการทำกิจกรรม
เด็กจะสนใจที่จะี่ทำต่อไป
-เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันไมมีใครเหมือนใคร
3)เฟรอเบล (Froeble)
-ควรส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กด้วยการกระต้นให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์อย่างเสรี
-การเลนเป็นการทำงานและการเรียนรู้ของเด็ก
4)เดวิด เอลคายน์ (David Eldind)
-การเร่งสอนอ่านเขียนขณะที่เด็กยังไม่พร้อมจะเกิด
ผลเสียต่อเด็กทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
-ระยะสั้น คือเครียดเป็นทุกขในการเรียน
-ระยะยาวคือ สูญเส๊ยบุคลิกภาพ เกิดเจตคติไมดีตอการเรียน
-เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง
5)มอนเตสซอรี่ (Maria Montessori)
-เด็กทุกคนเรียนรูอิสระจากการเล่นการกระทําและพัฒนาไปตามขั้นตอน
สติปญญาพัฒนาขึ้นได้จากการได้ใชสัมผัส
6)แม็กซิม (Maxim)
-การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กต้องพัฒนาทั้งตัวอย่างสมดุล
พร้อมทั้งกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และความสามารถที่ซ่อนอยู่ภาูยใน
ตัวเด็กออกมาใหได้
7)ไฮสโคป
-หลักสูตรแบบเปิดกว้างการเรียนรู้แบบลงมือกระทำ(Active Learning)
-การใชคําถามปลายเปด
8)เรกจิโอ เอมีเลีย (Reggio Emilia)
-ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กไดเรียนรู้ในสิ่งที่สนใจได้อย่างเต็มตามศักยภาพ
จัดสภาพการเรียนรูที่สนองต่อความอยากรูและแรงจูงใจภายในของเด็ก
จัดสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กแต่ละคนครอบครัว
ชุมชน และโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก
คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-การรุ้จักตัวเลข (1-10)
-รูปร่าง/รูปทรง (สามเหลี่ม สี่เหลี่ยม วงกลม)
-การนับ (นับปากเปล่า นับที่จะบอกจำนวน)
-ชั่งวัดตวง (ได้รู้ถึงปริมาณ ได้ค่า มีเครื่องมือเป็นหน่วย)
-การเพิ่มและลดจำนวน (ให้เด้กได้รู้จักการเพิ่มจำนวนและการลดจำนวน
โดยใช้สิ่งของแทนการนับปากเปล่า)
-รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนกับตัวเลข
-การจำแนกประเภท (จะมีเกณฑ์ใหญ่ๆในการจำแนกประเภท)
-การจำแนกหมวดหมู่ (จะมีเกณฑ์ในการจำแนกเหมือนกันแต่อาจจะไม่กว้างอย่างการจำแนกประเภท)
-การเปรียบเทียบ (เป็นการเปรียบเทียบระหว่างของสองสิ่งขึ้นไป)
-การเรียงลำดับ (เช่น การเรียงลำดับจากต่ำไปสูง)
-เวลา/พื้นที่ (เวลา=เช้า กลางวัน เย็น)
(พื้นที่=ข้างนอก ข้างใน)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น